LAB8 การวิเคราะห์แบบจำลองเวกเตอร์ (Vector model)

เปิดโปรแกรม ArcMap10ขึ้นมา หลังจากนั้นสร้าง Folder ขึ้นมา ตั้งชื่อว่า DAM












เมื่อสร้างเสร็จแล้ว เอาข้อมูลที่อยู่ในFolder PASAK (a5138i a5238iii a5238iv a5239iii) มาใส่ใน Table of contents











ขั้นตอนต่อไป เปิดคำสั่ง Merge ขึ้นมา และทำการรวมระวางทั้ง4ระวาง ตรงช่องinput เอาข้อมูลทั้ง 4 ระวางเข้ามา ส่วนช่อง output คลิกที่รูป Folder แล้วสร้างในfolderที่เราสร้างไว้ ตั้งชื่อว่า Admin Save แล้วกด OK











ผลลัพธ์











หลังจากนั้น Remove ข้อมูลที่เรานำเข้าตั้งแต่แรก เหลือไว้เฉพาะไฟล์ Admin อย่างเดียว หลังจากนั้นตรวจสอบข้อมูลAdmin โดยการคลิกขวา เลือก Open Attribute แล้วก็ตรวจสอบข้อมูลซึ่งจะเห็นได้ว่ายังไม่มีข้อมูลจังหวัด อำเภอ หรือตำบล











หลังจากนั้นเราจะทำการรวมข้อมูล โดยไปที่ Folder Code นำข้อมูล luamp luprv lutam เข้ามาหลังจากนั้นเช็คข้อมูลที่เราพึ่งจะนำเข้ามา โดยอันดับแรก เปิดดู ข้อมูล luprv  จะสังเกตได้ว่ามีชื่อจังหวัดขึ้นในตาราง











หลังจากนั้นตรวจสอบว่า ตาราง luprv กับตาราง Admin มีfieldที่เหมือนกันไหม หลังจากนั้นจะสังเกตได้ว่า มี Field PRV_ID ที่เหมือนกัน ซึ่งเป็น field ที่เราจะใช้เชื่อมตารางกัน











ตาราง Admin











หลังจากนั้นเช็คความสัมพันธ์ ซึ่ง Admin กับ luprv มีความสัมพันธ์แบบ กลุ่มต่อหนึ่ง หลังจากนั้นทำการเชื่อม โดยใช้คำสั่ง join ช่องแรกให้เลือก PRV_ID ช่องที่สองให้เลือก luprv และช่องที่สามเลือก PRV_ID จากนั้นกด OK 











ผลลัพธ์











หลังจากนั้น เปิดดูข้อมูล luamp เช็คว่ามีfieldไหน เหมือนกับAdminบ้าง หลังจากนั้นเราจะเช็ค field ที่ชื่อว่า AMP_ID แล้วก็เช็คว่าเป็นความสัมพันธ์แบบใดซึ่งเป็นความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง 











ตาราง Admin











ใช้คำสั่ง Join ช่องแรกให้เลือก AMP_ID ช่องที่สองให้เลือก luamp และช่องที่สามให้เลือก AMP_ID จากนั้นกด OK











ผลลัพธ์











เปิดข้อมูล lutam เช็คที่field ADM_ID แล้วหลังจากนั้นก็เช็คความสัมพันธ์ว่าเป็นความสัมพันธ์แบบใด ระหว่างข้อมูล Adminกับ lutam หลังจากเช็คแล้วจะได้ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง 











ตาราง Admin











ใช้คำสั่ง Join ช่องแรกให้เลือก ADM_ID ช่องที่สองให้เลือก lutam และช่องที่สามให้เลือก ADM_ID จากนั้นกด OK 











ผลลัพธ์ หลังจากนั้นเช็คตาราง Admin ว่ามีชื่อตำบลเข้ามาหรือยัง หลังจากนั้นปิดตาราง











ขั้นตอนต่อมา นำข้อมูล dam เข้ามา











หลังจากนั้นเปิดคำสั่ง buffer ทำการ buffer dam จะปรากฏตาราง ตรงช่อง input เลือก dam ช่อง output ตั้งชื่อ dam_500 Distance ใส่ 500 หน่วยเมตร หลังจากนั้น OK











ผลลัพธ์











หลังจากนั้นนำเอาคำสั่ง clip ออกมา ช่อง input เลือก Admin ช่อง Clip feature เลือก Dam_500 ช่อง output  ตั้งชื่อ Admin500 หลังจากนั้น OK











ผลลัพธ์











หลังจากนั้นนำเข้าข้อมูล landuse เข้ามา (I5138i I5238iii I5238iv i5239iii)











หลังจากนั้น Merge ข้อมูลทั้ง4ระวาง ตั้งชื่อว่า LU หลังจากนั้น ok











ผลลัพธ์











หลังจากนั้นเปิด Attribute ขึ้นมา เช็คตาราง











หลังจากนั้นนำข้อมูล lucode เข้ามา และทำการ open lucode ตรวจสอบว่ามี field ไหนที่ตรงกันกับ LU บ้าง











หลังจากตรวจสอบแล้วก็จะมี field LUID LUCODE FLUCODE SLUCODE TLUCODE หลังจากนั้นก็เช็คว่ามีfieldไหนที่มีข้อมูลครบทุก Record  ซึ่งเป็นField LU_ID LUCODE FLUCODE  ซึ่งใช้ได้หมด ในที่นี่เราจะใช้ LUCODE  ซึ่งเช็คดูความสัมพันธ์ดูแล้วเป็นความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง











ตาราง LU











หลังจากนั้นก็ทำการ Join ช่องแรกให้เลือก LUCODE ช่องที่สองให้เลือก lucode และช่องที่สามให้เลือก LUCODE จากนั้นกด OK











ผลลัพธ์











หลังจากนั้นเอาคำสั่ง Clip ช่อง Inputเลือก LU ช่อง Clip feature เลือก Dam_500 หรือ Admin500 แต่ใช้ Dam500ตามหลักการดีกว่า ตรงช่อง Output ตั้งชื่อ LU_500 หลังจากนั้นกด OK











ผลลัพธ์











หลังจากนั้นปิด ข้อมูล LU ไป จะเหลือข้อมูล3ข้อมูลคือ  LU_500 Admin_500 dam_500











หลังจากนั้นเอาคำสั่ง union ขึ้นมาซึ่งจะทำการรวม LU_500 กับ Admin_500 ตั้งชื่อว่า  Final หลังจากนั้น OK











ผลลัพธ์











หลังจากนั้นเช็ค Attribute จะเห็นได้ว่ามีข้อมูลทุกข้อมูลที่เราทำมาตั้งแต่ต้นอยู่ในข้อมูลFinal หลังจากนั้น  Add Field ตั้งชื่อว่า Area เลือก Type Float Precision 20 Scale 2 หลังจากนั้นกด OK











ผลลัพธ์











หลังจากนั้นคลิกขวาที่ Area เลือก Calculate Geometry 











เลือก Area กด OK หลังจากนั้นข้อมูลก็จะปรากฏ











ต่อมาเปิดตาราง Excel ไปที่ File Open หาไฟล์ที่ชื่อว่า Final.dbf เลือกแล้วก็ open











ข้อมูลก็จะปรากฏดังภาพ











หลังจากนั้นไปที่ Insertหรือแทรก เลือก Pivot Table หลังจากนั้นกด OK











ถ้าต้องการจะให้มันแสดงfield ไหนก็ไปติ๊กถูกหน้า field  ถ้าต้องการจะแสดงจังหวัดก็เลือก Field luprv_prv1 จากนั้นถ้าต้องการจะแสดงอำเภอก็เลือก Field luapm_amp1











หลังจากนั้นก็นำข้อมูลตำบลเข้ามาคือ Field lutam_tam_











หลังจากนั้นเลือก field lucode_ass จะปรากฏว่าแต่ละตำบลมีการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทใดบ้าง











หลังจากนั้นเลือก field Area เข้ามา เราก็จะรู้ว่าแต่ละประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินมีพื้นที่เท่าใดบ้าง












คลิปวิดีโอสาธิตวิธีการวิเคราะห์แบบจำลองเวกเตอร์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น